เตรียมสอบเนติบัณฑิต สมัย 56

วิชากฎหมายอาญามาตรา 1-58 และมาตรา 107-208

โดย…ติวเตอร์ภูมิพัฒน์

น.บ.(เกียรตินิยม), น.บ.ท.

 

มาตราที่ออกสอบไปแล้ว ตั้งแต่สมัยที่ 46-56

มาตราที่น่าสนใจ ในสมัยที่ 56

1. สมัย 46  มาตรา 138.2, 139,140.1,357+188 (.975/2534)

2. สมัย 47  มาตรา 149,200+86,144 (.435/2520), 162(2)(4), 161,267,137 (.2302/2523)

3. สมัย 48  มาตรา 148+86 (.2406-8/2519),138,157,165,200,189

4. สมัย 49  มาตรา 147+86 (.1092/2505, 341/2512,1486/2530,6491/2537)

5. สมัย 50  มาตรา 161,157,158,200.1  (.1797/2536,929/2537)

6. สมัย 51  มาตรา 188,136 (.2205/2537),148,147,145,146+86 (.1085/2536), 173,179 (.5449/2540)

7. สมัย 52  มาตรา 172,175,177.2 (.5558/2534)

8. สมัย 53 มาตรา 149+157, 161+265+268 (.265/2543)

9. สมัย 54  มาตรา 149+157, 161 (.1532/2543)

10. สมัย 55 มาตรา 8, 9, 144,147 (ฎีกาที่ 1035/2464)

11. สมัย 56 มาตรา 145, 148+337, 149, 157, 83, 84, 86 (ฎีกาที่ 3309/2541)

1. ใช้อำนาจในตำแหน่งโดยมิชอบ, เจ้าพนักงานเรียกรับสินบน (มาตรา 148+337, 149 + 157)

2. ต่อสู้ขัดขวางเจ้าพนักงาน (มาตรา 138+140+289 (2)(3)+296,298+139)

 (มาตรา 138 + 140, 296,298)

3. ปฏิบัติ หรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่ (มาตรา 157)

4. เจ้าพนักงานยักยอกทรัพย์ มาตรา 147 + 334,352 (.153/2545)

5. แจ้งความเท็จ (137, 172+137+174+181, 173+172 +137+174+181 +(267, 367)

6. เบิกความเท็จ (มาตรา 177,181, 182, 183)

7. ทำลายเอกสาร, เอาไปซึ่งเอกสาร (มาตรา 188, 334,335, 352)

8. ช่วยผู้กระทำผิด, หลบหนี, ให้ที่พำนัก ฯ (มาตรา 189, 190,191,192 + 193, 204,205)

9. เป็นคนกลาง, ให้สินบนเจ้าพนักงาน (มาตรา 143, 144)

10. มาตรา 9, มาตรา 34

11. การก่อการร้าย (มาตรา 135/1, 135/2, 135/3, 135/4)

 

มาตราที่สำคัญ  พร้อมมาตราที่เชื่องโยงกัน

            

             1. ดูหมิ่นเจ้าพนักงาน มาตรา 136 หรือ 198+393+326+(329-331)

             2. เกี่ยวกับความเท็จ

2.1 แจ้งความเท็จ  มาตรา137, 172+137+174+181, 173+172 [1]+137+174+181 +(267, 367)

2.2 ฟ้องเท็จคดีอาญา มาตรา 175+ลดโทษ 176+ รับโทษหนักขึ้น 181

2.3 เบิกความเท็จ มาตรา 177+ รับโทษหนักขึ้น 181+ ยกเว้นโทษ 182, ลดโทษ 183  หมายเหตุ  ไม่ผิด 267

2.4 นำสืบหรือแสดงพยานหลักฐานอันเป็นเท็จ  มาตรา 180+ รับโทษหนักขึ้น 181+ลดโทษ 183 (ไม่มี 182)

2.5 แปลเท็จ  มาตรา 178+รับโทษหนักขึ้น 181+ยกเว้นโทษ 182+ลดโทษ 183

2.6 ทำพยานหลักฐานอันเป็นเท็จในคดีอาญา มาตรา 179

             3. ต่อสู้ขัดขวางเจ้าพนักงาน  มาตรา 138+140+289 (2)(3)+296,298+139

             4. ข่มขืนใจเจ้าพนักงาน มาตรา 139+140+309+138

             5. เกี่ยวกับการรับสินบน

5.1 คนกลางเรียกรับสินบน มาตรา 143 (ผู้ให้ไม่ผิด)

5.2 ให้สินบนเจ้าพนักงาน  มาตรา 144 หรือ 167 (ไม่เป็น  149+86 อีก)

5.3 เจ้าพนักงานเรียกรับสินบน มาตรา 149 หรือ 201+157 +(148) , (ไม่เป็น  144+86 อีก)

             6.เจ้าพนักงานยักยอกทรัพย์ มาตรา 147+334+อย่าลืม 335 (7) มีอาวุธหรือลักทรัพย์ 2 คนขึ้นไป (11) เป็นของนายจ้าง+335.2 ผิด 2 อนุมาตราขึ้นไป ,352+83,84,86+157

             7. เจ้าพนักงานทำให้เสียทรัพย์  มาตรา 158 + 358, หากเบียดบังผิด 147+(157)

             8. เจ้าพนักงานใช้อำนาจในตำแหน่งโดยมิชอบ  มาตรา 148+(145+146),201+(337+157+83,84,86) แต่ไม่มี 148+80 (337+80 ได้) แสดงตนและกระทำการเป็นเจ้าพนักงาน มาตรา  145+146+337+(148+86) หรือ +(337+83)

             9. เจ้าพนักงานปลอมเอกสาร หรือทำเอกสารเท็จ  มาตรา 161+264+265+266+267+268+157,162+157

             10. ทำลายเอกสาร, เอาไปซึ่งเอกสาร มาตรา 188+ ถ้าหลอก 341,ถ้าเอาไป 334 หรือ 335 หรือถ้าเบียดบัง 352, ถ้าทำให้เสียหาย 358, ถ้าช่วยจำหน่าย 357

             11. ช่วยผู้อื่นโดยทำลายพยานหลักฐาน มาตรา 184+193+199,142

             12. ช่วยผู้กระทำผิด มาตรา 189+193,190,191,192+193,204,205

             13. ปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่ มาตรา 157 บททั่วไป

             14. ความผิดเกี่ยวกับศาสนา

14.1 เหยียดหยามศาสนา มาตรา 206

14.2 ก่อการวุ่นวายในที่ประชุมศาสนิกชน หรือกระทำพิธีกรรมทางศาสนาใด ๆ มาตรา 207

14.3 แต่งกาย หรือใช้เครื่องหมายว่าพระภิกษุ, สามเณร, นักพรต, นักบวชในศาสนาใด ๆ มาตรา 208

 

@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@

 

1.เจ้าพนักงานใช้อำนาจในตำแหน่งโดยมิชอบ, เจ้าพนักงานเรียกรับสินบน

 

***** ฎีกาที่ 1749/2545 พฤติการณ์ที่จำเลยจับกุมผู้เสียหายในข้อหาลักทรัพย์ของ ส. แล้วให้ผู้เสียหายลงลายมือชื่อในบันทึกการจับกุม จากนั้นนำผู้เสียหายไปควบคุมไว้ที่สถานีตำรวจประมาณ 30 นาที จึงเรียกร้องเอาเงินจากผู้เสียหาย เพื่อแลกเปลี่ยนกับการปล่อยตัวไม่ดำเนินคดี โดยนำผู้เสียหายมาโทรศัพท์หา ก. ภริยาผู้เสียหาย ต่อมมาเมื่อจำเลยได้รับเงิน 3,000 บาทจากผู้เสียหายแล้ว จึงปล่อยผู้เสียหายนั้น เป็นกรณีไม่กระทำการในตำแหน่งโดยมิชอบด้วยหน้าที่ จำเลยจึงมีความผิดตาม ป.อ. มาตรา 149

เมื่อการกระทำของจำเลยเป็นความผิดตาม ป.อ. มาตรา 149 ซึ่งเป็นบทเฉพาะแล้ว ย่อมไม่มีความผิดตาม ป.อ. มาตรา 157 ซึ่งเป็นบททั่วไปอีก แม้ว่าการกระทำของจำเลยจะเข้าหลักเกณฑ์อันเป็นองค์ประกอบของความผิดตามมาตรา 157 ด้วยก็ตาม

 

เปรียบเทียบกับ ฎีกาที่ 3470/2543 จำเลยทั้งสามเป็นเจ้าพนักงานตำรวจตำแหน่งลูกแถวกองกำกับการอารักขาและรักษาความปลอดภัยกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษกองบัญชาการตำรวจนครบาล ซึ่งเป็นเจ้าพนักงานตำรวจมีอำนาจหน้าที่สืบสวนจับกุมผู้กระทำผิดอาญา เมื่อได้พบและกล่าวหาว่าผู้เสียหายให้ที่พักอาศัยแก่คนต่างด้ายโดยไม่ปฏิบัติตามกฎหมายอันเป็นความผิดตาม พ... คนเข้าเมืองฯ จึงไม่ใช่การกลั่นแกล้งกล่าวหาผู้เสียหายกระทำความผิดอาญาโดยไม่มีมูลความผิดการที่จำเลยทั้งสามปฏิบัติการไปตามหน้าที่ดังกล่าวโดยชอบแล้ว กับไม่จับกุม  แต่ขู่เข็ญเรียกร้องเอาเงิน แล้วละเว้นไม่จับกุมผู้เสียหาย การกระทำของจำเลยทั้งสามจึงไม่เป็นความผิด ตาม ป.. มาตรา 148 แต่การที่จำเลยทั้งสามขู่เข็ญเรียกร้องเอาเงินจากผู้เสียหายภายหลังเช่นนี้ย่อมเป็นความผิดฐานเป็นเจ้าพนักงานเรียกรับทรัพย์สินในตำแหน่งโดยมิชอบด้วยหน้าที่ตาม ป.. มาตรา 149 คดีนี้โจทก์มิได้ฟ้องขอให้ลงโทษจำเลยทั้งสามตาม ป.. มาตรา 149 อันเป็นบทเฉพาะมาด้วย แต่โจทก์ได้บรรยายฟ้องว่าเมื่อพบการกระทำผิดซึ่งจำเลยทั้งสามมีหน้าที่จับกุมผู้กระทำผิดแต่กลับร่วมกันปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่โดยทุจริตโดยข่มขืนใจผู้เสียหายให้มอบเงินดังกล่าว อันเป็นการใช้อำนาจในตำแหน่งโดยมิชอบคำบรรยายฟ้องดังกล่าวจึงเข้าองค์ประกอบความผิดตาม ป..มาตรา 149 แม้คำขอท้ายฟ้องโจทก์จะอ้างบทมาตราความผิดตามบทเฉพาะตาม ป.. มาตรา 148 แต่เมื่อคำบรรยายฟ้องและข้อเท็จจริงที่พิจารณาได้ความว่าการกระทำของจำเลยทั้งสามเป็นความผิดตามบทเฉพาะตาม ป.. มาตรา 149 แล้ว จึงถือว่าโจทก์อ้างฐานความผิดหรือบทมาตราผิด ศาลมีอำนาจลงโทษจำเลยตามฐานความผิดที่ถูกต้องได้ตาม ป.วิ.. มาตรา 192 วรรคห้า

     จำเลยทั้งสามร่วมกันขู่เข็ญเรียกร้องเอาเงินจากผู้เสียหายเพื่อที่จะละเว้นไม่จับกุมผู้เสียหายไปดำเนินคดี จนผู้เสียหายกลัวว่าจะถูกจับกุมอันจะเป็นอันตรายต่อเสรีภาพของตน จึงยอมจะให้จำเลยแก่จำเลยทั้งสามนั้น เป็นความผิดฐานเป็นเจ้าพนักงานปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่โดยทุจริตตาม ป.. มาตรา 157 ซึ่งเป็นบททั่วไปและฐานกรรโชกตาม ป.. มาตรา 337 วรรคแรก ด้วย หาใช่เป็นเรื่องที่เมื่อเป็นความผิดตาม ป.. มาตรา 149 แล้วจะไม่เป็นความผิดตาม ป.. มาตรา 157 และมาตรา 337 ด้วยไม่ เพียงแต่เมื่อเป็นความผิดตาม ป.. มาตรา 149 ซึ่งเป็นบทเฉพาะแล้วก็ไม่จำต้องปรับบทตาม ป.. มาตรา 157 ซึ่งเป็นบททั่วไปอีกเท่านั้น

 

***** ฎีกาที่ 3309/2541  คืนเกิดเหตุจำเลยที่ ๒ ถึงที่ ๔ ซึ่งเป็นเจ้าพนักงานร่วมกันใช้จำเลยที่ ๑ ซึ่งมิใช่เจ้าพนักงานตำรวจให้แสดงตนเป็นเจ้าพนักงานตำรวจ เพื่อเป็นเครื่องมือให้ไปเรียกเก็บเงินจากบรรดาคนขับรถยนต์บรรทุกที่แล่นผ่านไปมาไม่เลือกว่าคนขับรถนั้นจะได้กระทำความผิดต่อกฎหมายหรือไม่ โดยจำเลยที่ ๑เข้าไปพูดกับคนขับรถว่า "ตามธรรมเนียม" คนขับรถนั้นแม้มิได้กระทำความผิดก็ต้องจำใจจ่ายเงินให้จำเลยที่ ๑ ด้วยความเกรงกลัวต่ออำนาจในการเป็นเจ้าพนักงานตำรวจ การกระทำของจำเลยที่ ๒ ถึงที่ ๔ ดังกล่าวเป็นการร่วมกันใช้อำนาจในตำแหน่งโดยมิชอบข่มขืนใจเพื่อให้คนขับรถยนต์บรรทุกมอบเงินให้แก่จำเลยที่ ๑ซึ่งเป็นพวกของจำเลยที่ ๒ ถึงที่ ๔ อันเป็นความผิดตาม ป..มาตรา ๑๔๘ แล้วและ หากรถยนต์บรรทุกคันใดมีการกระทำที่เป็นความผิดต่อกฎหมาย ถ้าจำเลยที่ ๑เรียกเอาเงินจากคนขับรถได้แล้ว จำเลยที่ ๒ ถึงที่ ๔ ก็จะไม่ทำการจับกุมการกระทำของจำเลยที่ ๒ ถึงที่ ๔ ดังกล่าวย่อมเป็นการร่วมกันเรียกและรับเงินจากคนขับรถยนต์บรรทุกสำหรับตนเองโดยมิชอบเพื่อไม่กระทำการในตำแหน่งคือไม่จับกุมตามหน้าที่ อันเป็นความผิดตามป..มาตรา ๑๔๙ แต่คืนเกิดเหตุมีการเรียกเก็บเงินหลายครั้งหลายหน จากบรรดาคนขับรถหลาย ๆ คนดังนี้ เมื่อโจทก์รวมการกระทำเหล่านี้ไว้ในฟ้องข้อเดียวกันโดยถือเป็นการกระทำกรรมเดียวผิดต่อกฎหมายหลายบท คือผิดทั้งป..มาตรา ๑๔๘ และ ๑๔๙ จึงต้องบังคับให้เป็นไปตามคำขอของโจทก์ ซึ่งแต่ละบทมาตรามีโทษเท่ากัน และเมื่อผิดตามบทเฉพาะเช่นนี้แล้วก็ไม่จำต้องปรับบทความผิดตาม ป..มาตรา ๑๕๗ อันเป็นบททั่วไปอีก

 

ฎีกาที่ 5096/2540   ครั้งแรก  จำเลยและ ถ. ไปบ้านผู้เสียหาย ถ. บอกผู้เสียหายว่าจำเลยเป็นเจ้าพนักงานตำรวจ  จำเลยได้ยินคำพูดของ ถ.  แต่ก็นิ่งเฉยและมิได้ปฏิเสธเท่ากับจำเลยต้องการ ให้ผู้เสียหายเชื่อหรือเข้าใจตามที่ ถ. บอก  ทั้งจำเลยได้เรียกเงินจำนวน 2,000  บาท  จากผู้เสียหายมิฉะนั้นจะจับผู้เสียหาย  พฤติการณ์เช่นนี้ถือได้ว่าจำเลยได้แสดงตนเป็นเจ้าพนักงานและกระทำการเป็นเจ้าพนักงานแล้ว  ส่วนการเรียกรับเงินครั้งที่สอง  แม้จำเลยไม่ได้บอกหรืออ้างว่าเป็นเจ้าพนักงานตำรวจแต่จำเลยเคยไปหาผู้เสียหายและมีพฤติการณ์แสดงให้ผู้เสียหายเชื่อว่าจำเลยเป็นเจ้าพนักงานตำรวจจริง  ทั้งผู้เสียหายเคยให้เงินแก่จำเลยเพื่อมิให้ถูกจับมาก่อน  การที่จำเลยไปเรียกเงินจากผู้เสียหายอีกโดยขู่ว่าหากไม่ให้จะจับผู้เสียหาย  จนผู้เสียหายยอมให้เงินจำนวน 2,000 บาท  แก่จำเลยเช่นนี้  ถือได้ว่าจำเลยได้แสดงตนเป็นเจ้าพนักงานและกระทำการเป็นเจ้าพนักงานโดยจำเลยมิได้เป็นเจ้าพนักงานที่มีอำนาจกระทำการนั้น  และมีความผิดฐานกรรโชกทรัพย์ผู้เสียหาย  ตาม   ป.อ.มาตรา  145  และ  337

***** ฎีกาที่ 1280/2543 การจับกุมกับการสอบสวนเป็นการดำเนินการคนละตอนกัน เมื่อปรากฏว่า จำเลยมิได้ฎีกาคัดค้านว่าการสอบสวนไม่ชอบย่อมถือว่าการสอบสวนเป็นไปโดยชอบด้วยกฎหมายแล้ว ไม่ว่าการจับกุมจะชอบหรือมิชอบด้วยกฎหมายก็ไม่เป็นการกระทบกระเทือนถึงการฟ้องคดีนี้ของโจทก์ ฎีกาของจำเลยถือได้ว่าเป็นฎีกาในข้อที่ไม่เป็นสาระแก่คดี

วันเกิดเหตุจำเลยซึ่งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้โทรศัพท์ไปข่มขืนใจโจทก์ร่วมให้ยอมมอบเงินและรถยนต์แก่ตนโดยพูดขู่เข็ญว่าจะนำเรื่องผู้บริหารของบริษัท ท. ติดสินบนรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมตามข่าวในหนังสือพิมพ์ ม. ไปอภิปรายในรัฐสภาและให้ข่าวแก่หนังสือพิมพ์ อันเป็นการทำอันตรายต่อชื่อเสียงและทรัพย์สินของบริษัท ท. ซึ่งมี ป. เป็นประธานกรรมการบริษัทและมีโจทก์ร่วมเป็นผู้ช่วยบริหารงานของบริษัท จนเป็นเหตุให้โจทก์ร่วมยอมจะให้เงินสด 1,000,000 บาท กับรถยนต์กระบะ 1 คัน แก่จำเลยตามที่ต่อรองตกลงกัน การกระทำของจำเลยจึงเป็นความผิดฐานกรรโชกทรัพย์ตาม ป.. มาตรา 337 วรรคแรก

ขณะเกิดเหตุจำเลยเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ซึ่งถือว่าเป็นสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งรัฐ มีหน้าที่ควบคุมการบริหารงานราชการแผ่นดินของรัฐบาลหรือคณะรัฐมนตรีโดยการอภิปรายและตั้งกระทู้ถามรัฐมนตรีในเรื่องต่างๆ เกี่ยวกับงานในหน้าที่ของรัฐมนตรีนั้นๆ ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.. 2521 ซึ่งใช้บังคับในช่วงเกิดเหตุ ในวันที่รัฐบาลแถลงนโยบายต่อรัฐสภา จำเลยมีสิทธิที่จะนำเรื่องที่มีข่าวในหนังสือพิมพ์ในทำนองว่าผู้บริหารบริษัท ท. ติดสินบนรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมไปอภิปรายในรัฐสภาโดยอภิปรายถึงการกระทำของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม ซึ่งการอภิปรายจะต้องเชื่อมโยงไปถึงผู้บริหารของบริษัท ท. แต่เรื่องที่จำเลยจะนำไปอภิปรายจะต้องเป็นความจริงหรือจำเลยเชื่อว่าเป็นความจริงจำเลยไม่มีอำนาจหน้าที่นำความอันเป็นเท็จไปอภิปรายในรัฐสภาได้ การที่โจทก์และโจทก์ร่วมอ้างว่าที่จำเลยพูดขู่เข็ญโจทก์ร่วมเกี่ยวกับเรื่องผู้บริหารของบริษัท ท. ติดสินบนรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมนั้นเป็นเรื่องที่จำเลยแกล้งกล่าวหาเพื่อใช้เป็นข้ออ้างในการข่มขืนใจโจทก์ร่วมให้ยอมให้เงินและรถยนต์แก่จำเลยเพื่อแลกกับการที่จำเลยจะไม่นำเรื่องดังกล่าวไปอภิปรายในรัฐสภา

กรณีตามคำฟ้องไม่ใช่เป็นกรณีที่จำเลยซึ่งมีตำแหน่งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร อันเป็นสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งรัฐได้พบเห็นหรือรู้เห็นความผิดของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมที่รับสินบนจากผู้บริหารของบริษัท ท. ซึ่งเป็นเรื่องที่ได้เกิดขึ้นจริง แล้วจำเลยใช้เหตุดังกล่าวมาเป็นข้อต่อรองเรียกทรัพย์สินจากโจทก์ร่วมโดยมิชอบ เพื่อแลกกับการที่จำเลยจะไม่นำเรื่องดังกล่าวไปอภิปรายในรัฐสภาตามตำแหน่งหน้าที่ของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร การกระทำของจำเลยจึงไม่เป็นความผิดฐานเป็นสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งรัฐเรียกรับทรัพย์สินสำหรับตนเองโดยมิชอบ เพื่อไม่กระทำการอย่างใดในตำแหน่งหน้าที่ตาม ป.. มาตรา 149

ฎีกาที่ 1170/2542 เมื่อพฤติการณ์ของจำเลยฟังได้ว่าจำเลยมีเจตนามาแต่แรกที่จะกระทำทุจริตโดยใช้อำนาจในตำแหน่งหน้าที่ของตนโดยมิชอบจูงใจให้โจทก์ร่วมมอบเงินให้แก่จำเลยการกระทำของจำเลย จึงเป็นความผิดตาม ป.อ. มาตรา 148 ซึ่งเป็นบทเฉพาะแล้วไม่จำเป็นต้องปรับบทความผิดตามมาตรา 157 ซึ่งเป็นบททั่วไปอีก ความผิดตาม ป.อ.มาตรา 149 เป็นเรื่องที่เริ่มต้นโดยใช้อำนาจในตำแหน่งหน้าที่ของตนโดยชอบแล้วกลับทุจริตในภายหลัง การที่จำเลยกับพวกยึดไม้ของกลาง 130 ชิ้น และกล่าวหาโจทก์ร่วมว่ามีไม้หวงห้ามแปรรูปไว้ในครอบครองโดยไม่ได้รับอนุญาต แต่ในทางนำสืบของโจทก์และโจทก์ร่วมไม่ได้ความแน่ชัดว่า เมื่อจำเลยกล่าวหาโจทก์ร่วมแล้วจำเลยได้เรียกเงินจากโจทก์ร่วมเพื่อมิให้ดำเนินคดีแก่โจทก์ร่วมจริงหรือไม่ จึงยังไม่พอฟังลงโทษจำเลยในความผิดฐานนี้

ฎีกาที่ 753/2510  จำเลยที่ 1  เป็นพัศดีเรือนจำ  จำเลยที่ 2 เป็นผู้คุมชั้น 2 จำเลยที่ 2 คุมนักโทษไปทำงานนอกเรือนจำแล้วนักโทษเกิดหลบหนีไปจำเลยที่ 2 รายงานให้จำเลยที่ 1 ทราบจำเลยที่ 1 ให้ปกปิดไว้ก่อนเพื่อติดตามตัว เมื่อติดตามไม่ได้จำเลยทั้งสองมิได้จัดการอย่างไร  คงปกปิดไว้มิได้รายงานต่อผู้บัญชาการเรือนจำตามระเบียบ   การกระทำของจำเลยทั้งสองจึงถือว่าเป็นการละเว้นการปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบ  เป็นความผิดตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 157 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา พ.ศ.2502 มาตรา 13

เมื่อถึงเวลาครบกำหนดที่นักโทษผู้นั้น จะพ้นโทษตามหมายจำคุกของศาล จำเลยทั้งสองได้ร่วมกันทำดังนี้  (1) สลักหลังหมายจำคุกของนักโทษผู้นั้น รับรองว่าได้ตรวจถูกต้องแล้วเสนอปล่อยตัวในวันที่ 1 เมษายน 2507  โดยจำเลยที่ 2 เป็นคนพิมพ์จำเลยที่ 1 เป็นคนลงนาม (2)  ร่วมกันปลอมเอกสารใบสุทธิของนักโทษผู้นั้น โดยจำเลยที่ 2 ลงลายพิมพ์นิ้วมือของตนเองแทนนักโทษและจำเลยที่ 1 ลงนามตรวจรับรอง  (3)  จำเลยที่ 2 ลงลายพิมพ์นิ้วมือของตนแทนนักโทษในช่องเมื่อพ้นโทษ ในทะเบียนรายตัวผู้ต้องคุมขังของนักโทษผู้นั้น (4) จำเลยทั้งสองได้ร่วมกันทำหนังสือของผู้บัญชาการเรือนจำถึงนายอำเภอสามเงาว่านักโทษผู้นั้นพ้นโทษ  จะกลับไปอยู่อำเภอสามเงาภูมิลำเนาเดิม แล้วเสนอหนังสือนั้นให้ผู้บัญชาการลงนาม  โดยจำเลยที่ 2 เป็นคนพิมพ์ จำเลยที่ 1 เป็นคนตรวจรับรอง การกระทำของจำเลยทั้งสองดังกล่าวย่อมมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา  161,264,265 อีกกระทงหนึ่ง  แต่ให้ลงโทษจำเลยทั้งสองตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 157 ซึ่งเป็นกระทงหนักที่สุดกระทงเดียว โดยจำคุกคนละ 2 ปี

ครั้นเมื่อมีพระราชกฤษฎีกาอภัยโทษ  จำเลยทั้งสองได้ร่วมกันลงชื่อนักโทษที่หลบหนีนั้น   ในบัญชีรายชื่อผู้ได้รับพระราชทานอภัยโทษเสนอต่อคณะกรรมการพิจารณาลดโทษ  คณะกรรมการฯ หลงเชื่อว่านักโทษผู้นั้นยังมีตัวอยู่ในเรือนจำ จึงลงมติลดโทษให้ 1 ใน 5 การกระทำของจำเลยเป็นความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 162(1)

2.ต่อสู้ขัดขวางเจ้าหนักงาน

 

***** ฎีกาที่ 8308/2544  จำเลยที่ 1 และที่ 3 ดิ้นรนขัดขืนไม่ยอมให้เจ้าพนักงานตำรวจจับกุมโดยดี โดยจำเลยที่ 2 ไม่ได้ต่อสู้ขัดขวางการจับกุม  ฮ. แต่ผู้เดียวทำร้ายสิบตำรวจเอก อ. ตามพฤติการณ์เป็นการตัดสินใจกระทำไปตามลำพังของจำเลยแต่ละคนโดยมิได้คบคิดกัน จึงถือไม่ได้ว่าเป็นตัวการร่วมกันกระทำความผิด จำเลยที่ 1 และที่ 3 มีความผิดฐานต่อสู้ขัดขวางเจ้าพนักงานซึ่งกระทำการตามหน้าที่ ดังนั้น จึงปรับบทลงโทษจำเลยที่ 1 และจำเลยที่ 3 ได้ตาม ป.อ. มาตรา 138 วรรค 2  เท่านั้น จะปรับบทตามมาตรา 140 วรรค 1 ซึ่งเป็นบทลงโทษผู้กระทำความผิดโดยร่วมกระทำความผิดด้วยกันตั้งแต่ 3 คนขึ้นไปตามที่โจทก์ฟ้องไม่ได้

 

ฎีกาที่ 2410/2545 จำเลยขับรถยนต์กระบะมาถึงด่านตรวจ เจ้าพนักงานตำรวจได้ให้สัญญาณให้หยุดรถ จำเลยไม่ยอมหยุด และได้ขับรถเลยไป จนต้องมีการไล่ติดตามเพื่อสกัดจับ การที่จำเลยขับรถเลยไปไม่ยอมหยุดให้ตำรวจตรวจค้นก็ดี การที่จำเลยดิ้นรนเพื่อให้หลุดพ้นจากการจับกุมก็ดี เป็นเพียงขั้นตอนหนึ่งของการจะหลบหนี จึงยังถือไม่ได้ว่าเป็นความผิดฐานต่อสู้ หรือขัดขวางเจ้าพนักงานในการปฏิบัติการตามหน้าที่

ฎีกาที่ 3850/2543 การที่จำเลยใช้มือผลักและใช้ตัวดันเจ้าพนักงานตำรวจเพื่อแยงถุงพลาสติกที่มีเมทแอมเฟตามีนบรรจุอยู่จากมือเจ้าพนักงานตำรวจไปใส่ปากเคี้ยวเพื่อทำลายหลักฐานนั้น ถือได้ว่าเป็นการขัดขวางการปฏิบัติงานของเจ้าพนักงานตำรวจผู้มีหน้าที่และกำลังตรวจค้นเพื่อรวบรวมสิ่งที่จะใช้เป็นพยานหลักฐานว่าจำเลยได้กระทำผิดตามที่มีการกล่าวหาหรือที่เจ้าพนักงานตำรวจได้สืบทราบมาหรือไม่ การกระทำของจำเลยจึงเป็นการขัดขวางเจ้าพนักงานในการปฏิบัติการตามหน้าที่

ส่วนการกระทำของจำเลยที่ใช้มือผลักเจ้าพนักงานตำรวจกระเด็นไปติดประตูแล้วใช้ตัวดันเพื่อแย่งถุงพลาสติกที่มีเมทแอมเฟตามีนบรรจุมาใส่ปากเพื่อเคี้ยวทำลายหลักฐานนั้นจำเลยย่อมเล็งเห็นผลของการผลักและดันของจำเลยว่าเป็นการทำอันตรายต่อร่วมกายหรือจิตใจของเจ้าพนักงานตำรวจได้ การกระทำของจำเลยจึงเป็นการใช้กำลังประทุษร้ายตามกฎหมายแล้ว แม้จำเลยจะมิได้มีเจตนาประสงค์ต่อผลในการที่จะกระทำต่อร่างกายส่วนใดส่วนหนึ่งของเจ้าพนักงานตำรวจก็ตาม การกระทำของจำเลยจึงเป็นความผิดตาม ป.. มาตรา 138 วรรคสอง

                         ฎีกาที่ 5980/2540 เจ้าพนักงานตำรวจจับจำเลยที่ 1 ในข้อหาลักทรัพย์และควบคุมตัวจำเลยที่ 1 ไปที่รถโดยสิบตำรวจโท ศ. กับนาบดาบตำรวจ อ. เดินขนาบข้างคล้องแขนจำเลยที่ 1 ไว้คนละข้าง ระหว่างทางจำเลยที่ 2 กับพวกประมาณ 10 ถึง 15 คน เข้ามาแย่งตัวจำเลยที่ 1 โดยจำเลยที่ 2 เข้ามาดึงตัวจำเลยที่ 1 ออกไป และถีบสิบตำรวจโท ศ. กับนายดาบตำรวจ อ. ส่วนจำเลยที่ 1 ได้พยายามดิ้นรนเพื่อให้พ้นจากการถูกควบคุมตัวซึ่งแม้ว่าในการดิ้นรนของจำเลยที่ 1 จะเป็นเหตุให้เท้าของจำเลยที่ 1 ไปโดนสิบตำรวจโท ศ. กับ นายดาบตำรวจ อ. ก็ตาม แต่การกระทำของจำเลยที่ 1 ดังกล่าว ก็ยังไม่ถึงขั้นที่จะเป็นการต่อสู้ขัดขวางเจ้าพนักงาน ตาม ป.. มาตรา 140

ฎีกาที่ 7985/2540  การกระทำที่จะเป็นความผิดฐานต่อสู้หรือขัดขวางเจ้าพนักงานในการปฏิบัติการตามหน้าที่ตาม ป.อ.มาตรา 138 นั้น จะต้องเป็นการกระทำต่อเจ้าพนักงานที่มีอำนาจหน้าที่ตามกฎหมายโดยได้รับการแต่งตั้งตามวิธีการที่กฎหมายให้อำนาจและกำหนดไว้ สำหรับ พ.ร.บ.กองอาสารักษาดินแดน พ.ศ. 2497 มาตรา 16(2) กำหนดให้กองอาสารักษาดินแดนมีหน้าที่ทำหน้าที่ตรวจรักษาความสงบภายในท้องที่ร่วมกับพนักงานฝ่ายปกครองหรือตำรวจ และมาตรา 29 ระบุว่าเจ้าหน้าที่หรือสมาชิกกองอาสารักษาดินแดนในระหว่างทำการตามหน้าที่ให้ถือว่าเป็นเจ้าพนักงานตามกฎหมายลักษณะอาญา ตามบทบัญญัติดังกล่าวกำหนดให้ผู้เสียหายทำงานร่วมกับพนักงานฝ่ายปกครองหรือตำรวจจึงจะมีอำนาจตามกฎหมายและให้ถือว่าผู้เสียหายเป็นเจ้าพนักงาน แต่ผู้เสียหายมีหน้าที่เพียงสกัดกั้นผู้กระทำความผิดต่อกฎหมาย ไม่มีหน้าที่จับกุม หากจะจับกุมจะต้องมีเจ้าพนักงานตำรวจและปลัดอำเภอร่วมด้วยดังนั้น เมื่อไม่ปรากฏว่ามีเจ้าพนักงานตำรวจหรือเจ้าพนักงานฝ่ายปกครองร่วมกับผู้เสียหายในการจับกุมจำเลย ผู้เสียหายย่อมไม่เป็นเจ้าพนักงานซึ่งปฏิบัติการตามหน้าที่ จำเลยจึงไม่มีความผิดตาม ป.อ. มาตรา 138

ฎีกาที่ 3178/2540 ผู้เสียหายได้พบจำเลยในขณะที่จำเลยซึ่งมีอาการเมาสุรานั่งคร่อมอยู่บนรถจักรยานยนต์โดยไม่ปรากฏว่าจำเลยได้กระทำความผิดและผู้เสียหายมิได้เข้าทำการจับกุมจำเลยอันเนื่องมาจากการกระทำความผิดของจำเลยแต่อย่างใด อีกทั้งการที่ ส. แจ้งต่อผู้เสียหายก็ระบุแต่เพียงว่าอาจมีเรื่องกันบริเวณปากซอยให้ไปช่วยคนหน่อย จึงฟังไม่ได้ว่ามีการกระทำความผิดเกิดขึ้นโดยจำเลยเป็นผู้ก่อเหตุหรือกระทำความผิดแต่อย่างใด การที่ผู้เสียหายปฏิบัติภารกิจอื่นแล้วเข้าไปยังที่เกิดเหตุโดยยังมิได้มีเหตุการณ์วิวาทเกิดขึ้นแต่ผู้เสียหายกลับไปมีเรื่องกับจำเลยเป็นการส่วนตัว โดยถูกจำเลยพูดว่ากล่าวและผลักอก จึงไม่ใช่เรื่องที่ผู้เสียหายกำลังปฏิบัติการตามหน้าที่ในการเข้าระงับเหตุทะเลาะวิวาท หรือจับกุมผู้กระทำความผิด การกระทำของจำเลยมิใช่เป็นการต่อสู้ขัดขวางเจ้าพนักงานในการปฏิบัติตามหน้าที่ ตาม ป.. มาตรา 138 แต่อย่างใด

 

3.การปฏิบัติ หรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่

                        

***** ฎีกาที่ 7836-7837/2544 จำเลยเป็นเจ้าพนักงานตำรวจมีอำนาจหน้าที่ในการจับกุมผู้กระทำผิด แต่กลับเป็นผู้ร่วมกระทำผิดด้วยการร่วมเล่นการพนันไพ่รัมมี่ แล้วจำเลยไม่จับกุมผู้ร่วมเล่นไพ่รัมมี่ ยังถือไม่ได้ว่าเป็นการละเว้นการปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบ โดยมีเจตนาพิเศษเพื่อให้เกิดความเสียหายแก่ผู้ร่วมเล่นการพนัน หรือสำนักงานตำรวจแห่งชาติของจำเลย จึงไม่มีความผิดตาม ป.อ. มาตรา 157 (ฎีกาเก็ง สมัย 55)

 

เปรียบเทียบกับฎีกาต่อไปนี้

ฎีกาที่ 999/2527 จำเลยเป็นเจ้าพนักงานตำรวจมีอำนาจทำการสืบสวนคดีอาญาและจับกุมผู้กระทำผิดกฎหมายในกรณีที่มีผู้กระทำผิด ซึ่งหน้าแม้ในที่รโหฐานจำเลยก็มีอำนาจจับได้โดยไม่ต้องมีทั้งหมายจับและหมายค้นดังนั้นการที่ จำเลยเข้าไปในห้องเล่นการพนันพบผู้เล่นกำลังเล่นการพนันเอาทรัพย์สินกันแล้วไม่ทำการจับกุม  ย่อมก่อให้เกิดความเสียหายแก่ราชการกรมตำรวจ จำเลยจึงมีความผิดฐานเป็นเจ้าพนักงานปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบตาม ป...157

ฎีกาที่ 1450/2513 เจ้าพนักงานตำรวจเข้าไปในสำนักค้าประเวณีขณะค้าประเวณีอยู่    ประกาศตนเป็นตำรวจและจับหญิงนครโสเภณีไปแล้วมอบหญิงเหล่านั้นให้พวกของตนไปเสีย   โดยไม่นำไปดำเนินคดีตามกฎหมาย ถือว่าเป็นการละเว้นการปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบ ทำให้เกิดความเสียหายแก่ราชการกรมตำรวจ เป็นความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 157

 

 

 

3470/2543 จำเลยทั้งสามเป็นเจ้าพนักงานตำรวจตำแหน่งลูกแถวกองกำกับการอารักขาและรักษาความปลอดภัยกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษกองบัญชาการตำรวจนครบาล ซึ่งเป็นเจ้าพนักงานตำรวจมีอำนาจหน้าที่สืบสวนจับกุมผู้กระทำผิดอาญา เมื่อได้พบและกล่าวหาว่าผู้เสียหายให้ที่พักอาศัยแก่คนต่างด้ายโดยไม่ปฏิบัติตามกฎหมายอันเป็นความผิดตาม พ... คนเข้าเมืองฯ จึงไม่ใช่การกลั่นแกล้งกล่าวหาผู้เสียหายกระทำความผิดอาญาโดยไม่มีมูลความผิดการที่จำเลยทั้งสามปฏิบัติการไปตามหน้าที่ดังกล่าวโดยชอบแล้ว กับไม่จับกุม  แต่ขู่เข็ญเรียกร้องเอาเงิน แล้วละเว้นไม่จับกุมผู้เสียหาย การกระทำของจำเลยทั้งสามจึงไม่เป็นความผิด ตาม ป.. มาตรา 148 แต่การที่จำเลยทั้งสามขู่เข็ญเรียกร้องเอาเงินจากผู้เสียหายภายหลังเช่นนี้ย่อมเป็นความผิดฐานเป็นเจ้าพนักงานเรียกรับทรัพย์สินในตำแหน่งโดยมิชอบด้วยหน้าที่ตาม ป.. มาตรา 149 คดีนี้โจทก์มิได้ฟ้องขอให้ลงโทษจำเลยทั้งสามตาม ป.. มาตรา 149 อันเป็นบทเฉพาะมาด้วย แต่โจทก์ได้บรรยายฟ้องว่าเมื่อพบการกระทำผิดซึ่งจำเลยทั้งสามมีหน้าที่จับกุมผู้กระทำผิดแต่กลับร่วมกันปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่โดยทุจริตโดยข่มขืนใจผู้เสียหายให้มอบเงินดังกล่าว อันเป็นการใช้อำนาจในตำแหน่งโดยมิชอบคำบรรยายฟ้องดังกล่าวจึงเข้าองค์ประกอบความผิดตาม ป..มาตรา 149 แม้คำขอท้ายฟ้องโจทก์จะอ้างบทมาตราความผิดตามบทเฉพาะตาม ป.. มาตรา 148 แต่เมื่อคำบรรยายฟ้องและข้อเท็จจริงที่พิจารณาได้ความว่าการกระทำของจำเลยทั้งสามเป็นความผิดตามบทเฉพาะตาม ป.. มาตรา 149 แล้ว จึงถือว่าโจทก์อ้างฐานความผิดหรือบทมาตราผิด ศาลมีอำนาจลงโทษจำเลยตามฐานความผิดที่ถูกต้องได้ตาม ป.วิ.. มาตรา 192 วรรคห้า

     จำเลยทั้งสามร่วมกันขู่เข็ญเรียกร้องเอาเงินจากผู้เสียหายเพื่อที่จะละเว้นไม่จับกุมผู้เสียหายไปดำเนินคดี จนผู้เสียหายกลัวว่าจะถูกจับกุมอันจะเป็นอันตรายต่อเสรีภาพของตน จึงยอมจะให้จำเลยแก่จำเลยทั้งสามนั้น เป็นความผิดฐานเป็นเจ้าพนักงานปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่โดยทุจริตตาม ป.. มาตรา 157 ซึ่งเป็นบททั่วไปและฐานกรรโชกตาม ป.. มาตรา 337 วรรคแรก ด้วย หาใช่เป็นเรื่องที่เมื่อเป็นความผิดตาม ป.. มาตรา 149 แล้วจะไม่เป็นความผิดตาม ป.. มาตรา 157 และมาตรา 337 ด้วยไม่ เพียงแต่เมื่อเป็นความผิดตาม ป.. มาตรา 149 ซึ่งเป็นบทเฉพาะแล้วก็ไม่จำต้องปรับบทตาม ป.. มาตรา 157 ซึ่งเป็นบททั่วไปอีกเท่านั้น

 

***** ฎีกาที่ 3309/2541  คืนเกิดเหตุจำเลยที่ ๒ ถึงที่ ๔ ซึ่งเป็นเจ้าพนักงานร่วมกันใช้จำเลยที่ ๑ ซึ่งมิใช่เจ้าพนักงานตำรวจให้แสดงตนเป็นเจ้าพนักงานตำรวจ เพื่อเป็นเครื่องมือให้ไปเรียกเก็บเงินจากบรรดาคนขับรถยนต์บรรทุกที่แล่นผ่านไปมาไม่เลือกว่าคนขับรถนั้นจะได้กระทำความผิดต่อกฎหมายหรือไม่ โดยจำเลยที่ ๑เข้าไปพูดกับคนขับรถว่า "ตามธรรมเนียม" คนขับรถนั้นแม้มิได้กระทำความผิดก็ต้องจำใจจ่ายเงินให้จำเลยที่ ๑ ด้วยความเกรงกลัวต่ออำนาจในการเป็นเจ้าพนักงานตำรวจ การกระทำของจำเลยที่ ๒ ถึงที่ ๔ ดังกล่าวเป็นการร่วมกันใช้อำนาจในตำแหน่งโดยมิชอบข่มขืนใจเพื่อให้คนขับรถยนต์บรรทุกมอบเงินให้แก่จำเลยที่ ๑ซึ่งเป็นพวกของจำเลยที่ ๒ ถึงที่ ๔ อันเป็นความผิดตาม ป..มาตรา ๑๔๘ แล้วและ หากรถยนต์บรรทุกคันใดมีการกระทำที่เป็นความผิดต่อกฎหมาย ถ้าจำเลยที่ ๑เรียกเอาเงินจากคนขับรถได้แล้ว จำเลยที่ ๒ ถึงที่ ๔ ก็จะไม่ทำการจับกุมการกระทำของจำเลยที่ ๒ ถึงที่ ๔ ดังกล่าวย่อมเป็นการร่วมกันเรียกและรับเงินจากคนขับรถยนต์บรรทุกสำหรับตนเองโดยมิชอบเพื่อไม่กระทำการในตำแหน่งคือไม่จับกุมตามหน้าที่ อันเป็นความผิดตามป..มาตรา ๑๔๙ แต่คืนเกิดเหตุมีการเรียกเก็บเงินหลายครั้งหลายหน จากบรรดาคนขับรถหลาย ๆ คนดังนี้ เมื่อโจทก์รวมการกระทำเหล่านี้ไว้ในฟ้องข้อเดียวกันโดยถือเป็นการกระทำกรรมเดียวผิดต่อกฎหมายหลายบท คือผิดทั้งป..มาตรา ๑๔๘ และ ๑๔๙ จึงต้องบังคับให้เป็นไปตามคำขอของโจทก์ ซึ่งแต่ละบทมาตรามีโทษเท่ากัน และเมื่อผิดตามบทเฉพาะเช่นนี้แล้วก็ไม่จำต้องปรับบทความผิดตาม ป..มาตรา ๑๕๗ อันเป็นบททั่วไปอีก

 

ฎีกาที่ 5096/2540   ครั้งแรก  จำเลยและ ถ. ไปบ้านผู้เสียหาย ถ. บอกผู้เสียหายว่าจำเลยเป็นเจ้าพนักงานตำรวจ  จำเลยได้ยินคำพูดของ ถ.  แต่ก็นิ่งเฉยและมิได้ปฏิเสธเท่ากับจำเลยต้องการ ให้ผู้เสียหายเชื่อหรือเข้าใจตามที่ ถ. บอก  ทั้งจำเลยได้เรียกเงินจำนวน 2,000  บาท  จากผู้เสียหายมิฉะนั้นจะจับผู้เสียหาย  พฤติการณ์เช่นนี้ถือได้ว่าจำเลยได้แสดงตนเป็นเจ้าพนักงานและกระทำการเป็นเจ้าพนักงานแล้ว  ส่วนการเรียกรับเงินครั้งที่สอง  แม้จำเลยไม่ได้บอกหรืออ้างว่าเป็นเจ้าพนักงานตำรวจแต่จำเลยเคยไปหาผู้เสียหายและมีพฤติการณ์แสดงให้ผู้เสียหายเชื่อว่าจำเลยเป็นเจ้าพนักงานตำรวจจริง  ทั้งผู้เสียหายเคยให้เงินแก่จำเลยเพื่อมิให้ถูกจับมาก่อน  การที่จำเลยไปเรียกเงินจากผู้เสียหายอีกโดยขู่ว่าหากไม่ให้จะจับผู้เสียหาย  จนผู้เสียหายยอมให้เงินจำนวน 2,000 บาท  แก่จำเลยเช่นนี้  ถือได้ว่าจำเลยได้แสดงตนเป็นเจ้าพนักงานและกระทำการเป็นเจ้าพนักงานโดยจำเลยมิได้เป็นเจ้าพนักงานที่มีอำนาจกระทำการนั้น  และมีความผิดฐานกรรโชกทรัพย์ผู้เสียหาย  ตาม   ป.อ.มาตรา  145  และ  337

***** ฎีกาที่ 1280/2543 การจับกุมกับการสอบสวนเป็นการดำเนินการคนละตอนกัน เมื่อปรากฏว่า จำเลยมิได้ฎีกาคัดค้านว่าการสอบสวนไม่ชอบย่อมถือว่าการสอบสวนเป็นไปโดยชอบด้วยกฎหมายแล้ว ไม่ว่าการจับกุมจะชอบหรือมิชอบด้วยกฎหมายก็ไม่เป็นการกระทบกระเทือนถึงการฟ้องคดีนี้ของโจทก์ ฎีกาของจำเลยถือได้ว่าเป็นฎีกาในข้อที่ไม่เป็นสาระแก่คดี

วันเกิดเหตุจำเลยซึ่งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้โทรศัพท์ไปข่มขืนใจโจทก์ร่วมให้ยอมมอบเงินและรถยนต์แก่ตนโดยพูดขู่เข็ญว่าจะนำเรื่องผู้บริหารของบริษัท ท. ติดสินบนรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมตามข่าวในหนังสือพิมพ์ ม. ไปอภิปรายในรัฐสภาและให้ข่าวแก่หนังสือพิมพ์ อันเป็นการทำอันตรายต่อชื่อเสียงและทรัพย์สินของบริษัท ท. ซึ่งมี ป. เป็นประธานกรรมการบริษัทและมีโจทก์ร่วมเป็นผู้ช่วยบริหารงานของบริษัท จนเป็นเหตุให้โจทก์ร่วมยอมจะให้เงินสด 1,000,000 บาท กับรถยนต์กระบะ 1 คัน แก่จำเลยตามที่ต่อรองตกลงกัน การกระทำของจำเลยจึงเป็นความผิดฐานกรรโชกทรัพย์ตาม ป.. มาตรา 337 วรรคแรก

ขณะเกิดเหตุจำเลยเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ซึ่งถือว่าเป็นสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งรัฐ มีหน้าที่ควบคุมการบริหารงานราชการแผ่นดินของรัฐบาลหรือคณะรัฐมนตรีโดยการอภิปรายและตั้งกระทู้ถามรัฐมนตรีในเรื่องต่างๆ เกี่ยวกับงานในหน้าที่ของรัฐมนตรีนั้นๆ ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.. 2521 ซึ่งใช้บังคับในช่วงเกิดเหตุ ในวันที่รัฐบาลแถลงนโยบายต่อรัฐสภา จำเลยมีสิทธิที่จะนำเรื่องที่มีข่าวในหนังสือพิมพ์ในทำนองว่าผู้บริหารบริษัท ท. ติดสินบนรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมไปอภิปรายในรัฐสภาโดยอภิปรายถึงการกระทำของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม ซึ่งการอภิปรายจะต้องเชื่อมโยงไปถึงผู้บริหารของบริษัท ท. แต่เรื่องที่จำเลยจะนำไปอภิปรายจะต้องเป็นความจริงหรือจำเลยเชื่อว่าเป็นความจริงจำเลยไม่มีอำนาจหน้าที่นำความอันเป็นเท็จไปอภิปรายในรัฐสภาได้ การที่โจทก์และโจทก์ร่วมอ้างว่าที่จำเลยพูดขู่เข็ญโจทก์ร่วมเกี่ยวกับเรื่องผู้บริหารของบริษัท ท. ติดสินบนรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมนั้นเป็นเรื่องที่จำเลยแกล้งกล่าวหาเพื่อใช้เป็นข้ออ้างในการข่มขืนใจโจทก์ร่วมให้ยอมให้เงินและรถยนต์แก่จำเลยเพื่อแลกกับการที่จำเลยจะไม่นำเรื่องดังกล่าวไปอภิปรายในรัฐสภา

กรณีตามคำฟ้องไม่ใช่เป็นกรณีที่จำเลยซึ่งมีตำแหน่งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร อันเป็นสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งรัฐได้พบเห็นหรือรู้เห็นความผิดของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมที่รับสินบนจากผู้บริหารของบริษัท ท. ซึ่งเป็นเรื่องที่ได้เกิดขึ้นจริง แล้วจำเลยใช้เหตุดังกล่าวมาเป็นข้อต่อรองเรียกทรัพย์สินจากโจทก์ร่วมโดยมิชอบ เพื่อแลกกับการที่จำเลยจะไม่นำเรื่องดังกล่าวไปอภิปรายในรัฐสภาตามตำแหน่งหน้าที่ของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร การกระทำของจำเลยจึงไม่เป็นความผิดฐานเป็นสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งรัฐเรียกรับทรัพย์สินสำหรับตนเองโดยมิชอบ เพื่อไม่กระทำการอย่างใดในตำแหน่งหน้าที่ตาม ป.. มาตรา 149

ฎีกาที่ 1170/2542 เมื่อพฤติการณ์ของจำเลยฟังได้ว่าจำเลยมีเจตนามาแต่แรกที่จะกระทำทุจริตโดยใช้อำนาจในตำแหน่งหน้าที่ของตนโดยมิชอบจูงใจให้โจทก์ร่วมมอบเงินให้แก่จำเลยการกระทำของจำเลย จึงเป็นความผิดตาม ป.อ. มาตรา 148 ซึ่งเป็นบทเฉพาะแล้วไม่จำเป็นต้องปรับบทความผิดตามมาตรา 157 ซึ่งเป็นบททั่วไปอีก ความผิดตาม ป.อ.มาตรา 149 เป็นเรื่องที่เริ่มต้นโดยใช้อำนาจในตำแหน่งหน้าที่ของตนโดยชอบแล้วกลับทุจริตในภายหลัง การที่จำเลยกับพวกยึดไม้ของกลาง 130 ชิ้น และกล่าวหาโจทก์ร่วมว่ามีไม้หวงห้ามแปรรูปไว้ในครอบครองโดยไม่ได้รับอนุญาต แต่ในทางนำสืบของโจทก์และโจทก์ร่วมไม่ได้ความแน่ชัดว่า เมื่อจำเลยกล่าวหาโจทก์ร่วมแล้วจำเลยได้เรียกเงินจากโจทก์ร่วมเพื่อมิให้ดำเนินคดีแก่โจทก์ร่วมจริงหรือไม่ จึงยังไม่พอฟังลงโทษจำเลยในความผิดฐานนี้

ฎีกาที่ 753/2510  จำเลยที่ 1  เป็นพัศดีเรือนจำ  จำเลยที่ 2 เป็นผู้คุมชั้น 2 จำเลยที่ 2 คุมนักโทษไปทำงานนอกเรือนจำแล้วนักโทษเกิดหลบหนีไปจำเลยที่ 2 รายงานให้จำเลยที่ 1 ทราบจำเลยที่ 1 ให้ปกปิดไว้ก่อนเพื่อติดตามตัว เมื่อติดตามไม่ได้จำเลยทั้งสองมิได้จัดการอย่างไร  คงปกปิดไว้มิได้รายงานต่อผู้บัญชาการเรือนจำตามระเบียบ   การกระทำของจำเลยทั้งสองจึงถือว่าเป็นการละเว้นการปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบ  เป็นความผิดตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 157 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา พ.ศ.2502 มาตรา 13

เมื่อถึงเวลาครบกำหนดที่นักโทษผู้นั้น จะพ้นโทษตามหมายจำคุกของศาล จำเลยทั้งสองได้ร่วมกันทำดังนี้  (1) สลักหลังหมายจำคุกของนักโทษผู้นั้น รับรองว่าได้ตรวจถูกต้องแล้วเสนอปล่อยตัวในวันที่ 1 เมษายน 2507  โดยจำเลยที่ 2 เป็นคนพิมพ์จำเลยที่ 1 เป็นคนลงนาม (2)  ร่วมกันปลอมเอกสารใบสุทธิของนักโทษผู้นั้น โดยจำเลยที่ 2 ลงลายพิมพ์นิ้วมือของตนเองแทนนักโทษและจำเลยที่ 1 ลงนามตรวจรับรอง  (3)  จำเลยที่ 2 ลงลายพิมพ์นิ้วมือของตนแทนนักโทษในช่องเมื่อพ้นโทษ ในทะเบียนรายตัวผู้ต้องคุมขังของนักโทษผู้นั้น (4) จำเลยทั้งสองได้ร่วมกันทำหนังสือของผู้บัญชาการเรือนจำถึงนายอำเภอสามเงาว่านักโทษผู้นั้นพ้นโทษ  จะกลับไปอยู่อำเภอสามเงาภูมิลำเนาเดิม แล้วเสนอหนังสือนั้นให้ผู้บัญชาการลงนาม  โดยจำเลยที่ 2 เป็นคนพิมพ์ จำเลยที่ 1 เป็นคนตรวจรับรอง การกระทำของจำเลยทั้งสองดังกล่าวย่อมมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา  161,264,265 อีกกระทงหนึ่ง  แต่ให้ลงโทษจำเลยทั้งสองตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 157 ซึ่งเป็นกระทงหนักที่สุดกระทงเดียว โดยจำคุกคนละ 2 ปี

ครั้นเมื่อมีพระราชกฤษฎีกาอภัยโทษ  จำเลยทั้งสองได้ร่วมกันลงชื่อนักโทษที่หลบหนีนั้น   ในบัญชีรายชื่อผู้ได้รับพระราชทานอภัยโทษเสนอต่อคณะกรรมการพิจารณาลดโทษ  คณะกรรมการฯ หลงเชื่อว่านักโทษผู้นั้นยังมีตัวอยู่ในเรือนจำ จึงลงมติลดโทษให้ 1 ใน 5 การกระทำของจำเลยเป็นความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 162(1)

2.ต่อสู้ขัดขวางเจ้าหนักงาน

 

***** ฎีกาที่ 8308/2544  จำเลยที่ 1 และที่ 3 ดิ้นรนขัดขืนไม่ยอมให้เจ้าพนักงานตำรวจจับกุมโดยดี โดยจำเลยที่ 2 ไม่ได้ต่อสู้ขัดขวางการจับกุม  ฮ. แต่ผู้เดียวทำร้ายสิบตำรวจเอก อ. ตามพฤติการณ์เป็นการตัดสินใจกระทำไปตามลำพังของจำเลยแต่ละคนโดยมิได้คบคิดกัน จึงถือไม่ได้ว่าเป็นตัวการร่วมกันกระทำความผิด จำเลยที่ 1 และที่ 3 มีความผิดฐานต่อสู้ขัดขวางเจ้าพนักงานซึ่งกระทำการตามหน้าที่ ดังนั้น จึงปรับบทลงโทษจำเลยที่ 1 และจำเลยที่ 3 ได้ตาม ป.อ. มาตรา 138 วรรค 2  เท่านั้น จะปรับบทตามมาตรา 140 วรรค 1 ซึ่งเป็นบทลงโทษผู้กระทำความผิดโดยร่วมกระทำความผิดด้วยกันตั้งแต่ 3 คนขึ้นไปตามที่โจทก์ฟ้องไม่ได้

 

ฎีกาที่ 2410/2545 จำเลยขับรถยนต์กระบะมาถึงด่านตรวจ เจ้าพนักงานตำรวจได้ให้สัญญาณให้หยุดรถ จำเลยไม่ยอมหยุด และได้ขับรถเลยไป จนต้องมีการไล่ติดตามเพื่อสกัดจับ การที่จำเลยขับรถเลยไปไม่ยอมหยุดให้ตำรวจตรวจค้นก็ดี การที่จำเลยดิ้นรนเพื่อให้หลุดพ้นจากการจับกุมก็ดี เป็นเพียงขั้นตอนหนึ่งของการจะหลบหนี จึงยังถือไม่ได้ว่าเป็นความผิดฐานต่อสู้ หรือขัดขวางเจ้าพนักงานในการปฏิบัติการตามหน้าที่

ฎีกาที่ 3850/2543 การที่จำเลยใช้มือผลักและใช้ตัวดันเจ้าพนักงานตำรวจเพื่อแยงถุงพลาสติกที่มีเมทแอมเฟตามีนบรรจุอยู่จากมือเจ้าพนักงานตำรวจไปใส่ปากเคี้ยวเพื่อทำลายหลักฐานนั้น ถือได้ว่าเป็นการขัดขวางการปฏิบัติงานของเจ้าพนักงานตำรวจผู้มีหน้าที่และกำลังตรวจค้นเพื่อรวบรวมสิ่งที่จะใช้เป็นพยานหลักฐานว่าจำเลยได้กระทำผิดตามที่มีการกล่าวหาหรือที่เจ้าพนักงานตำรวจได้สืบทราบมาหรือไม่ การกระทำของจำเลยจึงเป็นการขัดขวางเจ้าพนักงานในการปฏิบัติการตามหน้าที่

ส่วนการกระทำของจำเลยที่ใช้มือผลักเจ้าพนักงานตำรวจกระเด็นไปติดประตูแล้วใช้ตัวดันเพื่อแย่งถุงพลาสติกที่มีเมทแอมเฟตามีนบรรจุมาใส่ปากเพื่อเคี้ยวทำลายหลักฐานนั้นจำเลยย่อมเล็งเห็นผลของการผลักและดันของจำเลยว่าเป็นการทำอันตรายต่อร่วมกายหรือจิตใจของเจ้าพนักงานตำรวจได้ การกระทำของจำเลยจึงเป็นการใช้กำลังประทุษร้ายตามกฎหมายแล้ว แม้จำเลยจะมิได้มีเจตนาประสงค์ต่อผลในการที่จะกระทำต่อร่างกายส่วนใดส่วนหนึ่งของเจ้าพนักงานตำรวจก็ตาม การกระทำของจำเลยจึงเป็นความผิดตาม ป.. มาตรา 138 วรรคสอง

                         ฎีกาที่ 5980/2540 เจ้าพนักงานตำรวจจับจำเลยที่ 1 ในข้อหาลักทรัพย์และควบคุมตัวจำเลยที่ 1 ไปที่รถโดยสิบตำรวจโท ศ. กับนาบดาบตำรวจ อ. เดินขนาบข้างคล้องแขนจำเลยที่ 1 ไว้คนละข้าง ระหว่างทางจำเลยที่ 2 กับพวกประมาณ 10 ถึง 15 คน เข้ามาแย่งตัวจำเลยที่ 1 โดยจำเลยที่ 2 เข้ามาดึงตัวจำเลยที่ 1 ออกไป และถีบสิบตำรวจโท ศ. กับนายดาบตำรวจ อ. ส่วนจำเลยที่ 1 ได้พยายามดิ้นรนเพื่อให้พ้นจากการถูกควบคุมตัวซึ่งแม้ว่าในการดิ้นรนของจำเลยที่ 1 จะเป็นเหตุให้เท้าของจำเลยที่ 1 ไปโดนสิบตำรวจโท ศ. กับ นายดาบตำรวจ อ. ก็ตาม แต่การกระทำของจำเลยที่ 1 ดังกล่าว ก็ยังไม่ถึงขั้นที่จะเป็นการต่อสู้ขัดขวางเจ้าพนักงาน ตาม ป.. มาตรา 140

ฎีกาที่ 7985/2540  การกระทำที่จะเป็นความผิดฐานต่อสู้หรือขัดขวางเจ้าพนักงานในการปฏิบัติการตามหน้าที่ตาม ป.อ.มาตรา 138 นั้น จะต้องเป็นการกระทำต่อเจ้าพนักงานที่มีอำนาจหน้าที่ตามกฎหมายโดยได้รับการแต่งตั้งตามวิธีการที่กฎหมายให้อำนาจและกำหนดไว้ สำหรับ พ.ร.บ.กองอาสารักษาดินแดน พ.ศ. 2497 มาตรา 16(2) กำหนดให้กองอาสารักษาดินแดนมีหน้าที่ทำหน้าที่ตรวจรักษาความสงบภายในท้องที่ร่วมกับพนักงานฝ่ายปกครองหรือตำรวจ และมาตรา 29 ระบุว่าเจ้าหน้าที่หรือสมาชิกกองอาสารักษาดินแดนในระหว่างทำการตามหน้าที่ให้ถือว่าเป็นเจ้าพนักงานตามกฎหมายลักษณะอาญา ตามบทบัญญัติดังกล่าวกำหนดให้ผู้เสียหายทำงานร่วมกับพนักงานฝ่ายปกครองหรือตำรวจจึงจะมีอำนาจตามกฎหมายและให้ถือว่าผู้เสียหายเป็นเจ้าพนักงาน แต่ผู้เสียหายมีหน้าที่เพียงสกัดกั้นผู้กระทำความผิดต่อกฎหมาย ไม่มีหน้าที่จับกุม หากจะจับกุมจะต้องมีเจ้าพนักงานตำรวจและปลัดอำเภอร่วมด้วยดังนั้น เมื่อไม่ปรากฏว่ามีเจ้าพนักงานตำรวจหรือเจ้าพนักงานฝ่ายปกครองร่วมกับผู้เสียหายในการจับกุมจำเลย ผู้เสียหายย่อมไม่เป็นเจ้าพนักงานซึ่งปฏิบัติการตามหน้าที่ จำเลยจึงไม่มีความผิดตาม ป.อ. มาตรา 138

ฎีกาที่ 3178/2540 ผู้เสียหายได้พบจำเลยในขณะที่จำเลยซึ่งมีอาการเมาสุรานั่งคร่อมอยู่บนรถจักรยานยนต์โดยไม่ปรากฏว่าจำเลยได้กระทำความผิดและผู้เสียหายมิได้เข้าทำการจับกุมจำเลยอันเนื่องมาจากการกระทำความผิดของจำเลยแต่อย่างใด อีกทั้งการที่ ส. แจ้งต่อผู้เสียหายก็ระบุแต่เพียงว่าอาจมีเรื่องกันบริเวณปากซอยให้ไปช่วยคนหน่อย จึงฟังไม่ได้ว่ามีการกระทำความผิดเกิดขึ้นโดยจำเลยเป็นผู้ก่อเหตุหรือกระทำความผิดแต่อย่างใด การที่ผู้เสียหายปฏิบัติภารกิจอื่นแล้วเข้าไปยังที่เกิดเหตุโดยยังมิได้มีเหตุการณ์วิวาทเกิดขึ้นแต่ผู้เสียหายกลับไปมีเรื่องกับจำเลยเป็นการส่วนตัว โดยถูกจำเลยพูดว่ากล่าวและผลักอก จึงไม่ใช่เรื่องที่ผู้เสียหายกำลังปฏิบัติการตามหน้าที่ในการเข้าระงับเหตุทะเลาะวิวาท หรือจับกุมผู้กระทำความผิด การกระทำของจำเลยมิใช่เป็นการต่อสู้ขัดขวางเจ้าพนักงานในการปฏิบัติตามหน้าที่ ตาม ป.. มาตรา 138 แต่อย่างใด

 

3.การปฏิบัติ หรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่

                        

***** ฎีกาที่ 7836-7837/2544 จำเลยเป็นเจ้าพนักงานตำรวจมีอำนาจหน้าที่ในการจับกุมผู้กระทำผิด แต่กลับเป็นผู้ร่วมกระทำผิดด้วยการร่วมเล่นการพนันไพ่รัมมี่ แล้วจำเลยไม่จับกุมผู้ร่วมเล่นไพ่รัมมี่ ยังถือไม่ได้ว่าเป็นการละเว้นการปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบ โดยมีเจตนาพิเศษเพื่อให้เกิดความเสียหายแก่ผู้ร่วมเล่นการพนัน หรือสำนักงานตำรวจแห่งชาติของจำเลย จึงไม่มีความผิดตาม ป.อ. มาตรา 157 (ฎีกาเก็ง สมัย 55)

 

เปรียบเทียบกับฎีกาต่อไปนี้

ฎีกาที่ 999/2527 จำเลยเป็นเจ้าพนักงานตำรวจมีอำนาจทำการสืบสวนคดีอาญาและจับกุมผู้กระทำผิดกฎหมายในกรณีที่มีผู้กระทำผิด ซึ่งหน้าแม้ในที่รโหฐานจำเลยก็มีอำนาจจับได้โดยไม่ต้องมีทั้งหมายจับและหมายค้นดังนั้นการที่ จำเลยเข้าไปในห้องเล่นการพนันพบผู้เล่นกำลังเล่นการพนันเอาทรัพย์สินกันแล้วไม่ทำการจับกุม  ย่อมก่อให้เกิดความเสียหายแก่ราชการกรมตำรวจ จำเลยจึงมีความผิดฐานเป็นเจ้าพนักงานปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบตาม ป...157

ฎีกาที่ 1450/2513 เจ้าพนักงานตำรวจเข้าไปในสำนักค้าประเวณีขณะค้าประเวณีอยู่    ประกาศตนเป็นตำรวจและจับหญิงนครโสเภณีไปแล้วมอบหญิงเหล่านั้นให้พวกของตนไปเสีย   โดยไม่นำไปดำเนินคดีตามกฎหมาย ถือว่าเป็นการละเว้นการปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบ ทำให้เกิดความเสียหายแก่ราชการกรมตำรวจ เป็นความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 157

 

 

 

3470/2543 จำเลยทั้งสามเป็นเจ้าพนักงานตำรวจตำแหน่งลูกแถวกองกำกับการอารักขาและรักษาความปลอดภัยกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษกองบัญชาการตำรวจนครบาล ซึ่งเป็นเจ้าพนักงานตำรวจมีอำนาจหน้าที่สืบสวนจับกุมผู้กระทำผิดอาญา เมื่อได้พบและกล่าวหาว่าผู้เสียหายให้ที่พักอาศัยแก่คนต่างด้ายโดยไม่ปฏิบัติตามกฎหมายอันเป็นความผิดตาม พ... คนเข้าเมืองฯ จึงไม่ใช่การกลั่นแกล้งกล่าวหาผู้เสียหายกระทำความผิดอาญาโดยไม่มีมูลความผิดการที่จำเลยทั้งสามปฏิบัติการไปตามหน้าที่ดังกล่าวโดยชอบแล้ว กับไม่จับกุม  แต่ขู่เข็ญเรียกร้องเอาเงิน แล้วละเว้นไม่จับกุมผู้เสียหาย การกระทำของจำเลยทั้งสามจึงไม่เป็นความผิด ตาม ป.. มาตรา 148 แต่การที่จำเลยทั้งสามขู่เข็ญเรียกร้องเอาเงินจากผู้เสียหายภายหลังเช่นนี้ย่อมเป็นความผิดฐานเป็นเจ้าพนักงานเรียกรับทรัพย์สินในตำแหน่งโดยมิชอบด้วยหน้าที่ตาม ป.. มาตรา 149 คดีนี้โจทก์มิได้ฟ้องขอให้ลงโทษจำเลยทั้งสามตาม ป.. มาตรา 149 อันเป็นบทเฉพาะมาด้วย แต่โจทก์ได้บรรยายฟ้องว่าเมื่อพบการกระทำผิดซึ่งจำเลยทั้งสามมีหน้าที่จับกุมผู้กระทำผิดแต่กลับร่วมกันปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่โดยทุจริตโดยข่มขืนใจผู้เสียหายให้มอบเงินดังกล่าว อันเป็นการใช้อำนาจในตำแหน่งโดยมิชอบคำบรรยายฟ้องดังกล่าวจึงเข้าองค์ประกอบความผิดตาม ป..มาตรา 149 แม้คำขอท้ายฟ้องโจทก์จะอ้างบทมาตราความผิดตามบทเฉพาะตาม ป.. มาตรา 148 แต่เมื่อคำบรรยายฟ้องและข้อเท็จจริงที่พิจารณาได้ความว่าการกระทำของจำเลยทั้งสามเป็นความผิดตามบทเฉพาะตาม ป.. มาตรา 149 แล้ว จึงถือว่าโจทก์อ้างฐานความผิดหรือบทมาตราผิด ศาลมีอำนาจลงโทษจำเลยตามฐานความผิดที่ถูกต้องได้ตาม ป.วิ.. มาตรา 192 วรรคห้า

     จำเลยทั้งสามร่วมกันขู่เข็ญเรียกร้องเอาเงินจากผู้เสียหายเพื่อที่จะละเว้นไม่จับกุมผู้เสียหายไปดำเนินคดี จนผู้เสียหายกลัวว่าจะถูกจับกุมอันจะเป็นอันตรายต่อเสรีภาพของตน จึงยอมจะให้จำเลยแก่จำเลยทั้งสามนั้น เป็นความผิดฐานเป็นเจ้าพนักงานปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่โดยทุจริตตาม ป.. มาตรา 157 ซึ่งเป็นบททั่วไปและฐานกรรโชกตาม ป.. มาตรา 337 วรรคแรก ด้วย หาใช่เป็นเรื่องที่เมื่อเป็นความผิดตาม ป.. มาตรา 149 แล้วจะไม่เป็นความผิดตาม ป.. มาตรา 157 และมาตรา 337 ด้วยไม่ เพียงแต่เมื่อเป็นความผิดตาม ป.. มาตรา 149 ซึ่งเป็นบทเฉพาะแล้วก็ไม่จำต้องปรับบทตาม ป.. มาตรา 157 ซึ่งเป็นบททั่วไปอีกเท่านั้น

 

***** ฎีกาที่ 3309/2541  คืนเกิดเหตุจำเลยที่ ๒ ถึงที่ ๔ ซึ่งเป็นเจ้าพนักงานร่วมกันใช้จำเลยที่ ๑ ซึ่งมิใช่เจ้าพนักงานตำรวจให้แสดงตนเป็นเจ้าพนักงานตำรวจ เพื่อเป็นเครื่องมือให้ไปเรียกเก็บเงินจากบรรดาคนขับรถยนต์บรรทุกที่แล่นผ่านไปมาไม่เลือกว่าคนขับรถนั้นจะได้กระทำความผิดต่อกฎหมายหรือไม่ โดยจำเลยที่ ๑เข้าไปพูดกับคนขับรถว่า "ตามธรรมเนียม" คนขับรถนั้นแม้มิได้กระทำความผิดก็ต้องจำใจจ่ายเงินให้จำเลยที่ ๑ ด้วยความเกรงกลัวต่ออำนาจในการเป็นเจ้าพนักงานตำรวจ การกระทำของจำเลยที่ ๒ ถึงที่ ๔ ดังกล่าวเป็นการร่วมกันใช้อำนาจในตำแหน่งโดยมิชอบข่มขืนใจเพื่อให้คนขับรถยนต์บรรทุกมอบเงินให้แก่จำเลยที่ ๑ซึ่งเป็นพวกของจำเลยที่ ๒ ถึงที่ ๔ อันเป็นความผิดตาม ป..มาตรา ๑๔๘ แล้วและ หากรถยนต์บรรทุกคันใดมีการกระทำที่เป็นความผิดต่อกฎหมาย ถ้าจำเลยที่ ๑เรียกเอาเงินจากคนขับรถได้แล้ว จำเลยที่ ๒ ถึงที่ ๔ ก็จะไม่ทำการจับกุมการกระทำของจำเลยที่ ๒ ถึงที่ ๔ ดังกล่าวย่อมเป็นการร่วมกันเรียกและรับเงินจากคนขับรถยนต์บรรทุกสำหรับตนเองโดยมิชอบเพื่อไม่กระทำการในตำแหน่งคือไม่จับกุมตามหน้าที่ อันเป็นความผิดตามป..มาตรา ๑๔๙ แต่คืนเกิดเหตุมีการเรียกเก็บเงินหลายครั้งหลายหน จากบรรดาคนขับรถหลาย ๆ คนดังนี้ เมื่อโจทก์รวมการกระทำเหล่านี้ไว้ในฟ้องข้อเดียวกันโดยถือเป็นการกระทำกรรมเดียวผิดต่อกฎหมายหลายบท คือผิดทั้งป..มาตรา ๑๔๘ และ ๑๔๙ จึงต้องบังคับให้เป็นไปตามคำขอของโจทก์ ซึ่งแต่ละบทมาตรามีโทษเท่ากัน และเมื่อผิดตามบทเฉพาะเช่นนี้แล้วก็ไม่จำต้องปรับบทความผิดตาม ป..มาตรา ๑๕๗ อันเป็นบททั่วไปอีก

 

ฎีกาที่ 5096/2540   ครั้งแรก  จำเลยและ ถ. ไปบ้านผู้เสียหาย ถ. บอกผู้เสียหายว่าจำเลยเป็นเจ้าพนักงานตำรวจ  จำเลยได้ยินคำพูดของ ถ.  แต่ก็นิ่งเฉยและมิได้ปฏิเสธเท่ากับจำเลยต้องการ ให้ผู้เสียหายเชื่อหรือเข้าใจตามที่ ถ. บอก  ทั้งจำเลยได้เรียกเงินจำนวน 2,000  บาท  จากผู้เสียหายมิฉะนั้นจะจับผู้เสียหาย  พฤติการณ์เช่นนี้ถือได้ว่าจำเลยได้แสดงตนเป็นเจ้าพนักงานและกระทำการเป็นเจ้าพนักงานแล้ว  ส่วนการเรียกรับเงินครั้งที่สอง  แม้จำเลยไม่ได้บอกหรืออ้างว่าเป็นเจ้าพนักงานตำรวจแต่จำเลยเคยไปหาผู้เสียหายและมีพฤติการณ์แสดงให้ผู้เสียหายเชื่อว่าจำเลยเป็นเจ้าพนักงานตำรวจจริง  ทั้งผู้เสียหายเคยให้เงินแก่จำเลยเพื่อมิให้ถูกจับมาก่อน  การที่จำเลยไปเรียกเงินจากผู้เสียหายอีกโดยขู่ว่าหากไม่ให้จะจับผู้เสียหาย  จนผู้เสียหายยอมให้เงินจำนวน 2,000 บาท  แก่จำเลยเช่นนี้  ถือได้ว่าจำเลยได้แสดงตนเป็นเจ้าพนักงานและกระทำการเป็นเจ้าพนักงานโดยจำเลยมิได้เป็นเจ้าพนักงานที่มีอำนาจกระทำการนั้น  และมีความผิดฐานกรรโชกทรัพย์ผู้เสียหาย  ตาม   ป.อ.มาตรา  145  และ  337

***** ฎีกาที่ 1280/2543 การจับกุมกับการสอบสวนเป็นการดำเนินการคนละตอนกัน เมื่อปรากฏว่า จำเลยมิได้ฎีกาคัดค้านว่าการสอบสวนไม่ชอบย่อมถือว่าการสอบสวนเป็นไปโดยชอบด้วยกฎหมายแล้ว ไม่ว่าการจับกุมจะชอบหรือมิชอบด้วยกฎหมายก็ไม่เป็นการกระทบกระเทือนถึงการฟ้องคดีนี้ของโจทก์ ฎีกาของจำเลยถือได้ว่าเป็นฎีกาในข้อที่ไม่เป็นสาระแก่คดี

วันเกิดเหตุจำเลยซึ่งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้โทรศัพท์ไปข่มขืนใจโจทก์ร่วมให้ยอมมอบเงินและรถยนต์แก่ตนโดยพูดขู่เข็ญว่าจะนำเรื่องผู้บริหารของบริษัท ท. ติดสินบนรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมตามข่าวในหนังสือพิมพ์ ม. ไปอภิปรายในรัฐสภาและให้ข่าวแก่หนังสือพิมพ์ อันเป็นการทำอันตรายต่อชื่อเสียงและทรัพย์สินของบริษัท ท. ซึ่งมี ป. เป็นประธานกรรมการบริษัทและมีโจทก์ร่วมเป็นผู้ช่วยบริหารงานของบริษัท จนเป็นเหตุให้โจทก์ร่วมยอมจะให้เงินสด 1,000,000 บาท กับรถยนต์กระบะ 1 คัน แก่จำเลยตามที่ต่อรองตกลงกัน การกระทำของจำเลยจึงเป็นความผิดฐานกรรโชกทรัพย์ตาม ป.. มาตรา 337 วรรคแรก

ขณะเกิดเหตุจำเลยเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ซึ่งถือว่าเป็นสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งรัฐ มีหน้าที่ควบคุมการบริหารงานราชการแผ่นดินของรัฐบาลหรือคณะรัฐมนตรีโดยการอภิปรายและตั้งกระทู้ถามรัฐมนตรีในเรื่องต่างๆ เกี่ยวกับงานในหน้าที่ของรัฐมนตรีนั้นๆ ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.. 2521 ซึ่งใช้บังคับในช่วงเกิดเหตุ ในวันที่รัฐบาลแถลงนโยบายต่อรัฐสภา จำเลยมีสิทธิที่จะนำเรื่องที่มีข่าวในหนังสือพิมพ์ในทำนองว่าผู้บริหารบริษัท ท. ติดสินบนรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมไปอภิปรายในรัฐสภาโดยอภิปรายถึงการกระทำของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม ซึ่งการอภิปรายจะต้องเชื่อมโยงไปถึงผู้บริหารของบริษัท ท. แต่เรื่องที่จำเลยจะนำไปอภิปรายจะต้องเป็นความจริงหรือจำเลยเชื่อว่าเป็นความจริงจำเลยไม่มีอำนาจหน้าที่นำความอันเป็นเท็จไปอภิปรายในรัฐสภาได้ การที่โจทก์และโจทก์ร่วมอ้างว่าที่จำเลยพูดขู่เข็ญโจทก์ร่วมเกี่ยวกับเรื่องผู้บริหารของบริษัท ท. ติดสินบนรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมนั้นเป็นเรื่องที่จำเลยแกล้งกล่าวหาเพื่อใช้เป็นข้ออ้างในการข่มขืนใจโจทก์ร่วมให้ยอมให้เงินและรถยนต์แก่จำเลยเพื่อแลกกับการที่จำเลยจะไม่นำเรื่องดังกล่าวไปอภิปรายในรัฐสภา

กรณีตามคำฟ้องไม่ใช่เป็นกรณีที่จำเลยซึ่งมีตำแหน่งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร อันเป็นสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งรัฐได้พบเห็นหรือรู้เห็นความผิดของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมที่รับสินบนจากผู้บริหารของบริษัท ท. ซึ่งเป็นเรื่องที่ได้เกิดขึ้นจริง แล้วจำเลยใช้เหตุดังกล่าวมาเป็นข้อต่อรองเรียกทรัพย์สินจากโจทก์ร่วมโดยมิชอบ เพื่อแลกกับการที่จำเลยจะไม่นำเรื่องดังกล่าวไปอภิปรายในรัฐสภาตามตำแหน่งหน้าที่ของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร การกระทำของจำเลยจึงไม่เป็นความผิดฐานเป็นสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งรัฐเรียกรับทรัพย์สินสำหรับตนเองโดยมิชอบ เพื่อไม่กระทำการอย่างใดในตำแหน่งหน้าที่ตาม ป.. มาตรา 149

ฎีกาที่ 1170/2542 เมื่อพฤติการณ์ของจำเลยฟังได้ว่าจำเลยมีเจตนามาแต่แรกที่จะกระทำทุจริตโดยใช้อำนาจในตำแหน่งหน้าที่ของตนโดยมิชอบจูงใจให้โจทก์ร่วมมอบเงินให้แก่จำเลยการกระทำของจำเลย จึงเป็นความผิดตาม ป.อ. มาตรา 148 ซึ่งเป็นบทเฉพาะแล้วไม่จำเป็นต้องปรับบทความผิดตามมาตรา 157 ซึ่งเป็นบททั่วไปอีก ความผิดตาม ป.อ.มาตรา 149 เป็นเรื่องที่เริ่มต้นโดยใช้อำนาจในตำแหน่งหน้าที่ของตนโดยชอบแล้วกลับทุจริตในภายหลัง การที่จำเลยกับพวกยึดไม้ของกลาง 130 ชิ้น และกล่าวหาโจทก์ร่วมว่ามีไม้หวงห้ามแปรรูปไว้ในครอบครองโดยไม่ได้รับอนุญาต แต่ในทางนำสืบของโจทก์และโจทก์ร่วมไม่ได้ความแน่ชัดว่า เมื่อจำเลยกล่าวหาโจทก์ร่วมแล้วจำเลยได้เรียกเงินจากโจทก์ร่วมเพื่อมิให้ดำเนินคดีแก่โจทก์ร่วมจริงหรือไม่ จึงยังไม่พอฟังลงโทษจำเลยในความผิดฐานนี้

ฎีกาที่ 753/2510  จำเลยที่ 1  เป็นพัศดีเรือนจำ  จำเลยที่ 2 เป็นผู้คุมชั้น 2 จำเลยที่ 2 คุมนักโทษไปทำงานนอกเรือนจำแล้วนักโทษเกิดหลบหนีไปจำเลยที่ 2 รายงานให้จำเลยที่ 1 ทราบจำเลยที่ 1 ให้ปกปิดไว้ก่อนเพื่อติดตามตัว เมื่อติดตามไม่ได้จำเลยทั้งสองมิได้จัดการอย่างไร  คงปกปิดไว้มิได้รายงานต่อผู้บัญชาการเรือนจำตามระเบียบ   การกระทำของจำเลยทั้งสองจึงถือว่าเป็นการละเว้นการปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบ  เป็นความผิดตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 157 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา พ.ศ.2502 มาตรา 13

เมื่อถึงเวลาครบกำหนดที่นักโทษผู้นั้น จะพ้นโทษตามหมายจำคุกของศาล จำเลยทั้งสองได้ร่วมกันทำดังนี้  (1) สลักหลังหมายจำคุกของนักโทษผู้นั้น รับรองว่าได้ตรวจถูกต้องแล้วเสนอปล่อยตัวในวันที่ 1 เมษายน 2507  โดยจำเลยที่ 2 เป็นคนพิมพ์จำเลยที่ 1 เป็นคนลงนาม (2)  ร่วมกันปลอมเอกสารใบสุทธิของนักโทษผู้นั้น โดยจำเลยที่ 2 ลงลายพิมพ์นิ้วมือของตนเองแทนนักโทษและจำเลยที่ 1 ลงนามตรวจรับรอง  (3)  จำเลยที่ 2 ลงลายพิมพ์นิ้วมือของตนแทนนักโทษในช่องเมื่อพ้นโทษ ในทะเบียนรายตัวผู้ต้องคุมขังของนักโทษผู้นั้น (4) จำเลยทั้งสองได้ร่วมกันทำหนังสือของผู้บัญชาการเรือนจำถึงนายอำเภอสามเงาว่านักโทษผู้นั้นพ้นโทษ  จะกลับไปอยู่อำเภอสามเงาภูมิลำเนาเดิม แล้วเสนอหนังสือนั้นให้ผู้บัญชาการลงนาม  โดยจำเลยที่ 2 เป็นคนพิมพ์ จำเลยที่ 1 เป็นคนตรวจรับรอง การกระทำของจำเลยทั้งสองดังกล่าวย่อมมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา  161,264,265 อีกกระทงหนึ่ง  แต่ให้ลงโทษจำเลยทั้งสองตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 157 ซึ่งเป็นกระทงหนักที่สุดกระทงเดียว โดยจำคุกคนละ 2 ปี

ครั้นเมื่อมีพระราชกฤษฎีกาอภัยโทษ  จำเลยทั้งสองได้ร่วมกันลงชื่อนักโทษที่หลบหนีนั้น   ในบัญชีรายชื่อผู้ได้รับพระราชทานอภัยโทษเสนอต่อคณะกรรมการพิจารณาลดโทษ  คณะกรรมการฯ หลงเชื่อว่านักโทษผู้นั้นยังมีตัวอยู่ในเรือนจำ จึงลงมติลดโทษให้ 1 ใน 5 การกระทำของจำเลยเป็นความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 162(1)

2.ต่อสู้ขัดขวางเจ้าหนักงาน

 

***** ฎีกาที่ 8308/2544  จำเลยที่ 1 และที่ 3 ดิ้นรนขัดขืนไม่ยอมให้เจ้าพนักงานตำรวจจับกุมโดยดี โดยจำเลยที่ 2 ไม่ได้ต่อสู้ขัดขวางการจับกุม  ฮ. แต่ผู้เดียวทำร้ายสิบตำรวจเอก อ. ตามพฤติการณ์เป็นการตัดสินใจกระทำไปตามลำพังของจำเลยแต่ละคนโดยมิได้คบคิดกัน จึงถือไม่ได้ว่าเป็นตัวการร่วมกันกระทำความผิด จำเลยที่ 1 และที่ 3 มีความผิดฐานต่อสู้ขัดขวางเจ้าพนักงานซึ่งกระทำการตามหน้าที่ ดังนั้น จึงปรับบทลงโทษจำเลยที่ 1 และจำเลยที่ 3 ได้ตาม ป.อ. มาตรา 138 วรรค 2  เท่านั้น จะปรับบทตามมาตรา 140 วรรค 1 ซึ่งเป็นบทลงโทษผู้กระทำความผิดโดยร่วมกระทำความผิดด้วยกันตั้งแต่ 3 คนขึ้นไปตามที่โจทก์ฟ้องไม่ได้

 

ฎีกาที่ 2410/2545 จำเลยขับรถยนต์กระบะมาถึงด่านตรวจ เจ้าพนักงานตำรวจได้ให้สัญญาณให้หยุดรถ จำเลยไม่ยอมหยุด และได้ขับรถเลยไป จนต้องมีการไล่ติดตามเพื่อสกัดจับ การที่จำเลยขับรถเลยไปไม่ยอมหยุดให้ตำรวจตรวจค้นก็ดี การที่จำเลยดิ้นรนเพื่อให้หลุดพ้นจากการจับกุมก็ดี เป็นเพียงขั้นตอนหนึ่งของการจะหลบหนี จึงยังถือไม่ได้ว่าเป็นความผิดฐานต่อสู้ หรือขัดขวางเจ้าพนักงานในการปฏิบัติการตามหน้าที่

ฎีกาที่ 3850/2543 การที่จำเลยใช้มือผลักและใช้ตัวดันเจ้าพนักงานตำรวจเพื่อแยงถุงพลาสติกที่มีเมทแอมเฟตามีนบรรจุอยู่จากมือเจ้าพนักงานตำรวจไปใส่ปากเคี้ยวเพื่อทำลายหลักฐานนั้น ถือได้ว่าเป็นการขัดขวางการปฏิบัติงานของเจ้าพนักงานตำรวจผู้มีหน้าที่และกำลังตรวจค้นเพื่อรวบรวมสิ่งที่จะใช้เป็นพยานหลักฐานว่าจำเลยได้กระทำผิดตามที่มีการกล่าวหาหรือที่เจ้าพนักงานตำรวจได้สืบทราบมาหรือไม่ การกระทำของจำเลยจึงเป็นการขัดขวางเจ้าพนักงานในการปฏิบัติการตามหน้าที่

ส่วนการกระทำของจำเลยที่ใช้มือผลักเจ้าพนักงานตำรวจกระเด็นไปติดประตูแล้วใช้ตัวดันเพื่อแย่งถุงพลาสติกที่มีเมทแอมเฟตามีนบรรจุมาใส่ปากเพื่อเคี้ยวทำลายหลักฐานนั้นจำเลยย่อมเล็งเห็นผลของการผลักและดันของจำเลยว่าเป็นการทำอันตรายต่อร่วมกายหรือจิตใจของเจ้าพนักงานตำรวจได้ การกระทำของจำเลยจึงเป็นการใช้กำลังประทุษร้ายตามกฎหมายแล้ว แม้จำเลยจะมิได้มีเจตนาประสงค์ต่อผลในการที่จะกระทำต่อร่างกายส่วนใดส่วนหนึ่งของเจ้าพนักงานตำรวจก็ตาม การกระทำของจำเลยจึงเป็นความผิดตาม ป.. มาตรา 138 วรรคสอง

                         ฎีกาที่ 5980/2540 เจ้าพนักงานตำรวจจับจำเลยที่ 1 ในข้อหาลักทรัพย์และควบคุมตัวจำเลยที่ 1 ไปที่รถโดยสิบตำรวจโท ศ. กับนาบดาบตำรวจ อ. เดินขนาบข้างคล้องแขนจำเลยที่ 1 ไว้คนละข้าง ระหว่างทางจำเลยที่ 2 กับพวกประมาณ 10 ถึง 15 คน เข้ามาแย่งตัวจำเลยที่ 1 โดยจำเลยที่ 2 เข้ามาดึงตัวจำเลยที่ 1 ออกไป และถีบสิบตำรวจโท ศ. กับนายดาบตำรวจ อ. ส่วนจำเลยที่ 1 ได้พยายามดิ้นรนเพื่อให้พ้นจากการถูกควบคุมตัวซึ่งแม้ว่าในการดิ้นรนของจำเลยที่ 1 จะเป็นเหตุให้เท้าของจำเลยที่ 1 ไปโดนสิบตำรวจโท ศ. กับ นายดาบตำรวจ อ. ก็ตาม แต่การกระทำของจำเลยที่ 1 ดังกล่าว ก็ยังไม่ถึงขั้นที่จะเป็นการต่อสู้ขัดขวางเจ้าพนักงาน ตาม ป.. มาตรา 140

ฎีกาที่ 7985/2540  การกระทำที่จะเป็นความผิดฐานต่อสู้หรือขัดขวางเจ้าพนักงานในการปฏิบัติการตามหน้าที่ตาม ป.อ.มาตรา 138 นั้น จะต้องเป็นการกระทำต่อเจ้าพนักงานที่มีอำนาจหน้าที่ตามกฎหมายโดยได้รับการแต่งตั้งตามวิธีการที่กฎหมายให้อำนาจและกำหนดไว้ สำหรับ พ.ร.บ.กองอาสารักษาดินแดน พ.ศ. 2497 มาตรา 16(2) กำหนดให้กองอาสารักษาดินแดนมีหน้าที่ทำหน้าที่ตรวจรักษาความสงบภายในท้องที่ร่วมกับพนักงานฝ่ายปกครองหรือตำรวจ และมาตรา 29 ระบุว่าเจ้าหน้าที่หรือสมาชิกกองอาสารักษาดินแดนในระหว่างทำการตามหน้าที่ให้ถือว่าเป็นเจ้าพนักงานตามกฎหมายลักษณะอาญา ตามบทบัญญัติดังกล่าวกำหนดให้ผู้เสียหายทำงานร่วมกับพนักงานฝ่ายปกครองหรือตำรวจจึงจะมีอำนาจตามกฎหมายและให้ถือว่าผู้เสียหายเป็นเจ้าพนักงาน แต่ผู้เสียหายมีหน้าที่เพียงสกัดกั้นผู้กระทำความผิดต่อกฎหมาย ไม่มีหน้าที่จับกุม หากจะจับกุมจะต้องมีเจ้าพนักงานตำรวจและปลัดอำเภอร่วมด้วยดังนั้น เมื่อไม่ปรากฏว่ามีเจ้าพนักงานตำรวจหรือเจ้าพนักงานฝ่ายปกครองร่วมกับผู้เสียหายในก